หัวข้อที่ 13. หลักเกณฑ์ในการกำหนดมูลค่าของ Bank guarantee สำหรับการ
|
|
|
|
ส่งออกของเสียอันตรายตามอนุสัญญาบาเซล |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้กำหนดมูลค่าของ Bank guarantee ไว้ดังนี้
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- จำแนกของเสียออกเป็น 4 ประเภท ตามมูลค่าของของเสีย และความเสี่ยงในการเกิดอันตราย
- ความเสี่ยงในการเกิดอันตราย ให้ดูจากคุณสมบัติตามภาคผนวก 3 ของอนุสัญญาบาเซล
- สำหรับของเสียที่มีมูลค่าสูง ให้มีการกำหนดมูลค่าสูงสุดของ Bank guarantee
- สำหรับของเสียที่มีมูลค่าต่ำ ให้มีการกำหนดมูลค่าขั้นต่ำของ Bank guarantee
- หลักเกณฑ์
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลักษณะอันตราย
|
มูลค่าของ Bank guarantee
|
เงื่อนไขพิเศษ
|
มูลค่า
|
ความเสี่ยง
|
สูง
|
ต่ำ
|
1 เท่าของมูลค่าของเสีย
|
ไม่เกิน 1 ล้านบาท
|
สูง
|
สูง
|
3 เท่าของมูลค่าของเสีย
|
ไม่เกิน 3 ล้านบาท
|
ต่ำ
|
ต่ำ
|
1 เท่าของมูลค่าของเสีย
|
ไม่ต่ำกว่า 5 แสนบาท
|
ต่ำ
|
สูง
|
5 เท่าของมูลค่าของเสีย
|
ไม่ต่ำกว่า 2.5 ล้านบาท
|
หมายเหตุ ในกรณีที่ส่งออกของเสียมากกว่า 1 ประเภทขึ้นไป ให้ใช้มูลค่าของ Bank
guarantee สูงสุดที่คำนวณได้
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตัวอย่างข้อความใน Bank Guarantee สูงสุดที่คำนวณได้ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แหล่งที่มา : สำนักโรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา 6 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|